บทที่ 2 โครงข่ายระบบราง
2.1 ทางรถไฟสายเอเชีย (Trans-Asian Railway Network)
Trans-Asian Railway Network (TAR) เป็นโครงการที่จะสร้างเครือข่ายรถไฟขนส่งสินค้าแบบครบวงจรทั่วยุโรปและเอเชีย TAR เป็นโครงการของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติในเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP)
2.1.1 สถานะ
- เริ่มขึ้นในทศวรรษที่ 1960 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการอย่างต่อเนื่อง
- ทางรถไฟเชื่อมระหว่างสิงคโปร์และอิสตันบูลตุรกี ระยะทาง 14,080 กิโลเมตร และมีความสัมพันธ์กับทวีปยุโรปและแอฟริกาได้มากขึ้น
- ข้อตกลงนี้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2552
- เครือข่ายและมาตรฐาน
- ประเทศที่เข้าร่วม : อาร์เมเนีย, อาเซอร์ไบจาน, กัมพูชา, อินเดีย, อินโดนีเซีย, อิหร่าน, คาซัคสถาน, ลาว, มองโกเลีย, เนปาล, ปากีสถาน, สาธารณรัฐจีน, เกาหลีใต้, รัสเซีย, ศรีลังกา, ทาจิกิสถาน, ไทย, ตุรกี, อุซเบกิสถาน และเวียดนาม
- โครงการ Trans-Asian Railway Network ยังไม่ประสบความสำเร็จ
2.2 ทางรถไฟในอาเซียน
รูปที่ 2 ทางรถไฟสายเอเชีย Trans-Asian Railway Network
ตารางที่ 1 ทางรถไฟในอาเซียน
2.3 ข้อมูลทางเศรษฐกิจและรถไฟของอาเซียน
ตารางที่ 2 ข้อมูลทางเศรษฐกิจและรถไฟของอาเซียน
2.4 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศเวียดนาม (Trans-Asian Railway network in Viet Nam)
รูปที่ 3 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศไทยเวียดนาม (Trans-Asian Railway network in Viet Nam)
2.5 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศกัมพูชา (Trans-Asian Railway network in Cambodia)
รูปที่ 4 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศกัมพูชา (Trans-Asian Railway network in Cambodia)
2.6 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศมาเลเซีย (Trans-Asian Railway network in Malaysia)
รูปที่ 5 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศมาเลเซีย (Trans-Asian Railway network in Malaysia)
2.7 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศพม่า (Trans-Asian Railway network in Myanmar)
รูปที่ 6 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศพม่า (Trans-Asian Railway network in Myanmar)
2.8 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศไทย (Trans-Asian Railway network in Thailand)
รูปที่ 7 ทางรถไฟสายเอเชียในประเทศไทย (Trans-Asian Railway network in Thailand)
2.9 การสร้างรถไฟตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในประเทศไทย
รูปที่ 8 การสร้างรถไฟตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในประเทศไทย