หน้าหลัก
โครงสร้างพื้นฐานทางรถไฟ
โครงข่ายระบบรถไฟ
แผนการพัฒนาระบบรางในประเทศไทย
วิทยากร
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม
แผนการพัฒนาระบบรางในประเทศไทย
บทที่ 3 แผนการพัฒนาระบบรางในประเทศไทย

3.1    การขนส่งระหว่างเมืองเพื่อต่อภูมิภาค
การขนส่งระหว่างเมืองเพื่อต่อภูมิภาค โดยระบบราง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
3.1.1    พัฒนาระบบรถไฟทางคู่ (1.000 ม.)
- พัฒนาความเร็วโดยสาร จาก 60 เป็น 100 กม./ชม.
- เพิ่มความเร็วรถสินค้า จาก 39 เป็น 60 กม./ชม.
3.1.2    รถไฟความเร็วสูง (1.435ม.) มากกว่า 200 กม./ชม.
- เส้นทาง กรุงเทพมหานคร - นครราชสีมา และช่วงนครราชสีมา - หนองคาย
- เส้นทาง กรุงเทพมหานคร - เชียงใหม่, กรุงเทพมหานคร - ระยอง, กรุงเทพมหานคร - หัวหิน

รูปที่ 12 รถไฟทางคู่ (1.000 ม.)

รูปที่ 13 รถไฟความเร็วสูง (1.435ม.)
3.2    แผนงาน 1 : การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง
    ระยะที่ 1 ระยะเร่งด่วน 6 เส้นทาง
1.    ฉะเชิงเทรา - คลอง 19 - แก่งคอย (on going)        ระยะทาง 106 กิโลเมตร
2.    ชุมทางถนนจิระ - ขอนแก่น                ระยะทาง 185 กิโลเมตร
3.    ประจวบคีรีขันธ์ - ชุมพร                ระยะทาง 167 กิโลเมตร
4.    ลพบุรี - ปากน้ำโพ                    ระยะทาง 148 กิโลเมตร
5.    มาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ                ระยะทาง 132 กิโลเมตร
6.    นครปฐม - หัวหิน                    ระยะทาง 165 กิโลเมตร

ระยะที่ 2 (ศึกษาออกแบบรายละเอียด ในปี 2558 : 8 เส้น)
1.    หัวหิน - ประจวบคีรีขันธ์                ระยะทาง 90 กิโลเมตร
2.    ปากน้ำโพ - เด่นชัย                    ระยะทาง 285 กิโลเมตร
3.    ชุมทางถนนจิระ - อุบลราชธานี            ระยะทาง 309 กิโลเมตร
4.    ขอนแก่น - หนองคาย                ระยะทาง 174 กิโลเมตร
5.    ชุมพร - สุราษฎร์ธานี                    ระยะทาง 167 กิโลเมตร
6.    สุราษฎร์ธานี - สงขลา                ระยะทาง 339 กิโลเมตร
7.    หาดใหญ่ - ปาดังเบซาร์                ระยะทาง 45 กิโลเมตร
8.    เด่นชัย - เชียงใหม่                    ระยะทาง 217 กิโลเมตร

ระยะที่ 3 (3 เส้นทาง)
1.    สายเด่นชัย - เชียงของ                ระยะทาง 326 กิโลเมตร
2.    บ้านไผ่ - นครพนม                    ระยะทาง 347 กิโลเมตร
3.    ชุมทางบ้านภาชี - อำเภอนครหลวง            ระยะทาง 15 กิโลเมตร

รูปที่ 14 แผนงาน 1 : การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง
3.3    โครงการก่อสร้างทางคู่ ระยะเร่งด่วน 7 เส้นทาง ระยะทางรวม 995 กิโลเมตร อยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้าง 2 เส้นทาง
1.    ฉะเชิงเทรา - คลอง 19 - แก่งคอย                ระยะทาง 106 กิโลเมตร   
2.    ชุมทางถนนจิระ - ขอนแก่น                    ระยะทาง 187 กิโลเมตร
อยู่ระหว่างประกวดราคา 1 เส้นทาง (ครม.อนุมัติ 26 เม.ย. 2559
3.    ประจวบคีรีขันธ์ - ชุมพร                    ระยะทาง 167 กิโลเมตร
อยู่ระหว่างเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัติ 4 เส้นทาง
4.    มาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ                    ระยะทาง 132 กิโลเมตร
5.    ลพบุรี - ปากน้ำโพ                        ระยะทาง 148 กิโลเมตร
6.    นครปฐม - หัวหิน                        ระยะทาง 165 กิโลเมตร
7.    หัวหิน - ประจวบคีรีขันธ์                    ระยะทาง 90 กิโลเมตร


รูปที่ 15 โครงการก่อสร้างทางคู่ ระยะเร่งด่วน 7 เส้นทาง ระยะทางรวม 995 กิโลเมตร
3.4    โครงการก่อสร้างทางคู่ ระยะที่ 2 จำนวน 7 เส้นทาง ระยะทาง 1,536 กิโลเมตร
    รฟท. จำนวน 5 เส้นทาง ได้แก่
1.    ปากน้ำโพ - เด่นชัย
2.    ขอนแก่น - หนองคาย
3.    ชุมทางถนนจิระ - อุบลราชธานี
4.    ชุมพร - สุราษฎร์ธานี
ปัจจุบัน รฟท. ศึกษาและออกแบบรายละเอียดเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างเตรียมจัดส่งรายงาน EIA ให้ สผ.
5.    สุราษฎร์ธานี - ปาดังเบซาร์
ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนร่างรายงานฉบับสุดท้าย ส่งเมื่อ 2 มิ.ย. 2559 รฟท. จะพิจารณาตรวจรับ 10 มิ.ย. 2559 คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จ ส.ค.59

    สนข. จำนวน 2 เส้นทาง ได้แก่
1.    หาดใหญ่ - ปาดังเบซาร์ - ออกแบบแล้วเสร็จ
2.    เด่นชัย - เชียงใหม่ - อยู่ระหว่างออกแบบรายละเอียด

รูปที่ 16 โครงการก่อสร้างทางคู่ ระยะที่ 2 จำนวน  7เส้นทาง ระยะทาง 1,536 กิโลเมตร
3.5    โครงก่อการสร้างทางคู่ สายใหม่  3 เส้นทาง ระยะทางรวม 696 กิโลเมตร
รฟท. ออกแบบรายละเอียดเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่าง คชก. พิจารณารายงาน EIA 2 เส้นทาง คือ
1.    เด่นชัย - เชียงราย - เชียงของ
2.    บ้านไผ่ - มุกดาหาร - นครพนม
รฟท. ขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อศึกษาความเหมาะสม สำรวจ ออกแบบและวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เส้นทางชุมทางบ้านภาชี- นครหลวง วงเงิน 12.15 ล้านบาท

รูปที่ 17 โครงก่อการสร้างทางคู่ สายใหม่  3 เส้นทาง ระยะทางรวม 696 กิโลเมตร
3.6    เส้นทางโครงการความร่วมมือ ไทย-จีน
    1. กรุงเทพมหานคร - แก่งคอย                ระยะทาง 118 กิโลเมตร   
    2. แก่งคอย - มาบตาพุด                    ระยะทาง 139 กิโลเมตร
    3. แก่งคอย - นครราชสีมา                ระยะทาง 134 กิโลเมตร
    4. นครราชสีมา - หนองคาย                ระยะทาง 354 กิโลเมตร

รูปที่ 18 เส้นทางโครงการความร่วมมือ ไทย-จีน
3.7    ความร่วมมือด้านระบบราง ไทย-ญี่ปุ่น
  1. กรุงเทพมหานคร - เชียงใหม่                    ระยะทาง 672 กิโลเมตร
  2. กาญจนบุรี - กรุงเทพมหานคร - ฉะเชิงเทรา - อรัญประเทศ    ระยะทาง 496 กิโลเมตร
  3. ฉะเชิงเทรา - แหลมฉบัง                    ระยะทาง 78 กิโลเมตร
รูปที่ 19 ความร่วมมือด้านระบบราง ไทย-ญี่ปุ่น
รูปที่ 20 การพัฒนาทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน : PPP รถไฟความเร็วสูง
3.8 การพัฒนาทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน : PPP รถไฟความเร็วสูง