2.2 ข้อมูลสินทรัพย์
ข้อมูลพื้นฐานของสายทาง
-    รหัสทางหลวง รหัสตอนควบคุม ชื่อตอนควบคุม
-    ตำแหน่งที่ตั้ง
-    กม.เริ่มต้น กม.สิ้นสุด
-    ความกว้าง ความยาว ระยะทางรวม
-    จำนวนช่องจราจร
-    ประเภทผิวทาง / ไหล่ทาง
-    หน่วยงานรับผิดชอบ
ข้อมูลส่วนประกอบอื่นถนน
-    เครื่องหมายจราจร: ป้ายจราจร หลักนำโค้ง Guard rail หลักกิโลเมตร ไฟฟ้าแสงสว่าง สัญญาณไฟจราจร Timber Barricade
-    ข้อมูลท่อลอดกลม ท่อลอดเหลี่ยม และรางระบายน้ำ
ข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ (Geographic Information Technology - GIS

2.3 การสำรวจและประเมินสภาพความเสียหายของถนน
-    ข้อมูลปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวันต่อปี (Annual Average Daily Traffic: AADT)   
-    ข้อมูลความเสียหาย (ประเภทและปริมาณ)
-    ข้อมูลดัชนีความขรุขระสากล (International Roughness Index: IRI)
-    ข้อมูลความเสียดทานของถนน (Skid Resistance)
-    ข้อมูลค่าการแอ่นตัวของทาง (Deflection) โดยมีการจัดเก็บ 2 รูปแบบคือ เก็บโดยใช้เครื่องมือ Benkelman Beam และเครื่องมือ Falling Weight Deflectometer (FWD)
-    ข้อมูลอายุการใช้งานของถนน

2.4 การวิเคราะห์การซ่อมบำรุงที่เหมาะสม
    @2017 www.pe.eng.ku.ac.th                                                                                                                                                 Professional Engineering
บทที่ 2 การบริหารจัดการสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน






















2.1 การบริหารจัดการสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน
    IAMS เปรียบเสมือนเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจในอนาคตว่าต้องทำอย่างไร เนื่องจากขีดจำกัดทางด้านการเงินจึงต้องบริหารจัดการให้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ เช่น ถนนในสภาพดี รถไฟไม่ดีเลย์
ปัญหาสำคัญในการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
ในการบริหารจัดการระบบโครงสร้างพื้นฐานนั้น ความยากง่ายและปัญหาส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับข้อมูลพื้นฐานภูมิหลังต่าง ๆ ซึ่งแสดงดังหัวข้อต่อไปนี้
1.    การเสื่อมสภาพตามอายุของโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเกิดจากเหตุดังนี้
-    เกิดจากอายุ (Aging) ระดับการใช้งาน (Level of Service)
-    การเสื่อมสภาพจากธรรมชาติ
-    การออกแบบที่ไม่ได้คุณภาพ
2.    ขาดการวางแผนการบำรุงรักษาที่ถูกต้อง
3.    ขาดแคลนงบประมาณการบำรุงรักษา งบประมาณในการบำรุงรักษานั้นถือว่ามีความสำคัญไม่แพ้ งบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างซึ่งโดยมากงบประมาณการบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานจะวางงบประมาณโดยใช้เงินประกันสัญญา แต่หลังจากนั้นในการซ่อมแซมและบำรุงจะต้องมีการของบประมาณใหม่และการของบประมาณใหม่ในการบำรุงรักษาจะต้องใช้เวลามากถึง 1 - 2 ปี หรือบางครั้งอาจจะมากกว่านั้น ซึ่ง ณ เวลาที่จะได้บำรุงรักษาจริง ๆ สภาพโครงสร้างพื้นฐานก็ได้มีการชำรุดมากกกว่าในขณะที่รายงาน และส่งผลให้ไม่สามารถใช้ระบบโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.    ขาดการรายงานสภาพของโครงสร้างพื้นฐานที่แท้จริง และอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นผลให้สภาพความเสียหายของโครงสร้างพื้นฐานเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว 2.5 ขาดการวางแผนในการบูรณาการโครงสร้างพื้นฐานอย่างมีระบบทั้งในด้านการก่อสร้าง และการบูรณาการและการเชื่อมโยงระบบเข้าด้วย รวมถึงการประสานงานระหว่างผู้ดูแลรับผิดชอบระบบโครงสร้างพื้นฐานนั้น ๆ ด้วย

วัตถุประสงค์ของ  IAMS
1.    เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการพังเสียหายเร็วกว่าที่คาดการณ์ อยู่ในระดับใช้งานได้ดี
2.    ระดับการบริหารจัดการ
    2.1    Network / System - wide จะเป็นการดูภาพรวมช่วยในการตัดสินใจทั้งในสภาพปัจจุบันและในอนาคต
    2.2    Project / section
3.    Key Features:
    3.1  Ongoing, in-service monitoring and evaluation
    3.2  A database.

วัฏจักรการบริหารจัดการสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน
ตัวอย่างอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
2.5 การวางแผนและการจัดสรรงบประมาณ
การวิเคราะห์แผนงบประมาณซ่อมบำรุงจะใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ช่วยในการ
วิเคราะห์
-    กำหนดแผนในการวิเคราะห์ 1 ปี - 10 ปี
-    กำหนดงบประมาณเป้าหมาย (Budget Target) หรือ กำหนดค่า IRI เป้าหมาย (IRI Target)
การกำหนดฟังก์ชันเป้าหมาย (Objective Function)
"    การวิเคราะห์งบประมาณโดยกำหนดงบประมาณ (Budget Target)
-    งบประมาณซ่อมบำรุงในกรอบของงบประมาณที่กำหนด
-    ระบบจะเลือกสายทางที่ให้ค่ามากที่สุดของ ?Benefit/Cost
"    การวิเคราะห์งบประมาณโดยกำหนดค่า IRI (IRI Target)
-     เป็นการวิเคราะห์งบประมาณซ่อมบำรุงในกรอบของ IRI สูงสุดที่ยอมรับได้
ค่าใช้จ่ายของผู้ใช้ทาง (Road User Cost) หมายถึง ต้นทุนการเดินทาง การประเมินค่าใช้จ่ายของผู้ใช้ทาง นำไปสู่การวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น จากการประหยัดค่าใช้จ่ายของผู้ใช้ทาง
ค่าใช้จ่ายในการใช้ยานพาหนะ (Vehicle Operating Cost) หมายถึง ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงค่า ยางรถ ค่าบำรุงรักษา ค่าเสื่อมราคา อ้างอิงแบบจำลองค่าใช้จ่ายจาก HDM-4 โดยค่าใช้จ่ายจะสัมพันธ์กับ ชนิดของยานพาหนะ สภาพของผิวทาง ความเร็วที่ใช้ และราคาต่อหน่วย
มูลค่าของเวลาในการเดินทาง (Value of Time) หมายถึง มูลค่าที่เทียบเท่ากับเงิน ที่ต้องสูญเสียไปในการเดินทาง จำนวนประชากร อัตราส่วนผู้มีงานทำ และรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากร
ดังนั้นค่าใช้จ่ายของผู้ใช้ทาง (Road User Cost) คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้ยานพาหนะ (Vehicle Operating Cost) รวมกับ มูลค่าของเวลาในการเดินทาง (Value of Time)

ผลประโยชน์ของผู้ใช้ทาง
= RUCก่อนการซ่อมบำรุง - RUCซ่อมบำรุง
แบบจำลองที่ใช้ในการคำนวณค่าใช้จ่ายของยานพาหนะ
-    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (Fuel Cost)
-    ค่าน้ำมันหล่อลื่น (Oil Cost)
-    ค่ายาง (Tire Cost)
-    ค่าบำรุงรักษาและค่าซ่อม (Maintenance and Repair Cost)
-    ค่าเสื่อมราคา (Depreciation Cost)

ปัจจัยที่ส่งผลต่อมูลค่าเวลา
มูลค่าของเวลาในการการเดินทางต่อบุคคล โดยทั่วไปมีค่าประมาณร้อยละ 25 ถึง 50 ของรายได้เฉลี่ย
-    จำนวนประชากร
-    อัตราส่วนผู้มีงานทำ
-    รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากร
ในหลายงานวิจัยได้วิเคราะห์ และทดสอบเพื่อประมาณมูลค่าของเวลาในการเดินทางจากข้อมูลเชิงคุณภาพ
-    วัตถุประสงค์การเดินทาง (ธุรกิจ หรือส่วนตัว)
-    ประเภทของผู้เดินทาง (ผู้ขับขี่ ผู้เดินทางที่เป็นผู้ใหญ่ ผู้เดินทางที่เป็นเด็ก)
-    รูปแบบการเดินทาง (รถยนต์ รถโดยสาร รถจักรยาน  การเดิน)
-    สถานการณ์ในการเดินทาง (ระดับการให้บริการ)

มูลค่าของเวลาในการการเดินทางเทียบเท่าร้อยละของรายได้
Download Report กลุ่ม5/2560
หน้าหลัก
วิทยากรบรรยาย คุณประสงค์ ธาราไชย
คณะผู้จัดทำ กลุ่ม 5/2560